590

Author: Krit
Published: September 2008

สวัสดี ครับ หลังจากที่ผมหายหน้าหายตาไปช่วงนึง ตอนนี้ก็กลับมาแล้วครับ โดยวันนี้มีเคสรุ่น Centurion 590 จาก CoolerMaster มาให้ดูกันครับ โดยเคสรุ่นนี้มี ลักษณะเด่น คือ มีช่องใส่ไดร์ฟขนาด 5.25" มาให้ถึง 9 ช่องโดยที่ขนาดของเคสจะมีความสูงกว่าเคส medium อยู่เพียงนิดหน่อยเท่านั้นเอง อีกทั้งยังมีช่องต่อ USB, Audio และ IEEE1394 อยู่ด้านหน้าครบครันตามมาตรฐานของเคสปัจจุบันครับ ว่าแล้วก็มาดูสเปคกันก่อนดีกว่าครับ

Specifications :

สำหรับสเปคก็มีตามข้างบน โดยมีช่อง bay 5.25" มาให้มากถึง 9 ช่องด้วยกัน ส่วนวัสดุที่ใช้ทำก็เป็นเหล็ก SECC ครับ


Exterior & Design

สำหรับกล่องของมันก็มีขนาดใหญ่โตพื้นสีขาว มีแซมสีม่วงๆครับ

ด้านข้างกล่องมีระบุรายละเอียด สเปคไว้ส่วนหนึ่ง

สำหรับรุ่นที่ได้มานี้มีหน้าต่าง แต่ไม่มี PSU ครับ

อีกฝั่งนึงของกล่องก็มีรูปพร้อมคำอธิบายเกี่ยวกับฟีเจอร์เด่นไว้อีกครับ

ซูมๆ เข้าไปดูใกล้ว่าเขาเขียนอะไรไว้บ้างครับ



Exterior & Design (Continued)

หลังจากที่แกะออกมาจากกล่องก็จะเห็นเป็นเคสที่ตัวค่อนข้างใหญ่สีดำ ดูดุดันดีครับ

เมื่อเรามองหน้าตรงก็จะเห็นว่าด้านหน้าจะเป็นตะแกรงรูพรุนๆเกือบทั้งหมด และช่วงบริเวณด้านบนจะเป็นช่องต่อต่างๆและสวิตช์ครับ

เข้า มาดูกันใกล้ๆ ก็จะเห็นพอร์ตต่อเชื่อมต่างๆที่เราคุ้นเคยกันดี พร้อมมีการสกรีนบอกชื่อของแต่ละพอร์ต ส่วนสวิตช์เปิด-ปิดเครื่องจะอยู่ทางด้านขวาสุดครับ จุดที่น่าสังเกตก็คือ เคสตัวนี้ไม่มีปุ่ม reset เครื่องให้กด คงต้องใช้วิธีกดปุ่ม power แช่ให้ดับแทนแล้วค่อยเปิดใหม่ครับ

บริเวณฝั่งหลังๆด้านบนของเคสจะมีการเจาะช่องสำหรับให้เราสามารถหาพัดลมขนาด 8, 12 หรือ 14cm.
มาติดตั้งเพิ่มเติมได้เพื่อเพิ่มความสามารถในการดึงความร้อนออกจากเคสให้เร็วยิ่งขึ้นครับ

ส่วนทางด้านหน้าเหนือช่องพอร์ตต่างๆก็มีการสกรีนชื่อยี่ห้อไว้ชัดเจนครับ

มา ดูทางด้านข้างก็จะเห็นว่ามีการเจาะช่องใส่แผ่นพลาสติกใสเป็นรูปคล้ายๆตัว L พร้อมกับติดตั้งพัดลมขนาด 12 cm.ที่มีแผ่นตะแกรงเหล็กกันฝุ่นมาให้ด้วยครับ

บริเวณด้านหลังช่วงบนก็ยังมีพัดลมขนาด 12 cm. ติดตั้งมาไว้สำหรับดูดความร้อนออกมี 1 ตัวครับ ว่าแต่ PSU จะใส่ที่ไหนครับเนี่ย??

เมื่อ เรามองต่ำลงมาก็จะเห็นช่องใหญ่ด้านล่างสุด ซึ่งก็เป็นช่องสำหรับติดตั้ง PSU นั่นเองครับ นอกจากนี้บริเวณทางขวาบนใกล้ๆกัน จะเห็นยางอุดรู 2 รูสำหรับ
ผู้ที่ใช้ระบบระบายความร้อนด้วยน้ำให้สามารถนำสายยางลอดผ่าน 2 รูนี้ได้อีกด้วย ว่ากันง่ายๆก็คือ เขาออกแบบมาเผื่อสำหรับคนเล่นน้ำด้วยครับ อิอิ..

ส่วน ทางด้านฝาข้างของอีกฝั่งก็ยังมีการเจาะช่องไว้ ซึ่งเรายังสามารถหาพัดลม 8 cm. แบบบางติดตั้งเพิ่มไว้สำหรับเป่าบริเวณข้างหลังของซีพียูได้อีกด้วยครับ

เอามาให้ดูกันชัดๆเต็มๆ อีกหนึ่งรูปสำหรับบริเวณด้านหลังครับ


Exterior & Design (Continued)

สำหรับฝาข้างเมื่อถอดออกมาก็จะเห็นสภาพดังรูป โดยมีพัดลมขนาดใหญ่ 12 cm. ติดตั้งไว้ด้วยครับ

ช่วงขอบฝาก็ได้มีการพับแผ่นเหล็กกลับเพื่อไม่ให้มีขอบคมและยังเป็นสันให้แผ่นฝามีความแข็งแรงเพิ่มขึ้นอีกด้วยครับ

สำหรับตัวพัดลมที่ติดตั้งมาให้ก็ใช้กำลังไฟประมาณ 0.16A พร้อมสายวัดรอบพัดลมสีเหลืองๆที่เห็นนะครับ ไม่ใช่พัดลมธรรมดานะครับ

เมื่อมองเข้าไปในเคสก็จะเห็นความโล่ง ไม่มีคานอะไรมาขวางกันครับ

บริเวณส่วนนี้ใช้สำหรับติดตั้ง แผง Mainboard ได้เลยครับ ส่วนพัดลมอีก 1 ตัวตรงนี้ก็เป็นแบบเดียวกันกับตัวที่ฝาข้างครับ

เข้ามาดูกันใกล้ๆสำหรับจุดยึดพัดลมที่ใช้เป่า บริเวณด้านหลังซีพียู แต่ว่าต้องติดตั้งอีกฝั่งนึงนะครับ

มองเหนือขึ้นไปก็จะเห็นช่องรูพรุนสำหรับติดตั้งพัดลมได้หลายขนาด ดูโล่งดีจังครับ..

หันมาดูฝั่งด้านหน้าช่วงบนก็จะเห็นสายไฟสำหรับต่อเข้ากับ mainboard และก็มีตัวแปลงจากช่อง Bay 5.25" ไปเป็น 3.5" ครับ

ส่วนทางด้านล่างก็จะเป็นกรงใส่ HDD ได้ 4 ตัวโดยใช้พื้นที่ Bay ในการติดตั้งแค่ 3 ช่องครับ

ส่วนระบบล็อก เราสามารถใช้เจ้าตัวล็อกที่เขาออกแบบมาให้เราสามารถยึด drive ต่างๆ โดยไม่ต้องขันสกรูได้เลยครับ


Exterior & Design (Continued)

สำหรับการยึดพวกการ์ดจอ หรือการ์ดอื่นๆ ก็เป็นแบบ Toolfree เช่นกันครับ

หรือว่าถ้าเราต้องการจะขันสกรูเองก็ทำได้เช่นกันครับ

ทาง ด้านพื้นเคสช่วงบริเวณติดตั้ง PSU จะเห็นมีรูพรุนๆนี่เขาไม่ได้เอาไว้ติดตั้งพัดลมนะครับ แต่เขาเจาะช่องไว้สำหรับ PSU รุ่นที่เป็นพัดลมตัวใหญ่อยู่ด้านล่าง
ให้มันมีช่องดูดลมเข้าไปในตัว PSU ได้น่ะ แล้วยังมีชิ้นยางรองรับตัว PSU ของเราอีก 4 ชิ้นอีกด้วยครับ

พลิกดูช่วงล่างของเจ้า Centurion 590 ก็จะเห็นเรียบๆประมาณนี้ครับ

สำหรับตัวขารองเคสที่เป็นพลาสติกนี้ไม่มียางรองมาให้นะครับ ต้องหาใส่เพิ่มกันเอาเองครับ

เมื่อถอดฝาหน้าออกมา จะเห็นชุดต่อ USB และหูฟังโดยจะมีฝาเหล็กครอบดังรูปครับ

สำหรับตัวกรงยึด HDD ก็จะมีพัดลมขนาด 12 cm. ตัวใสมีไฟสีฟ้าติดตั้งมา โดยเราสามารถถอดย้ายตำแหน่งได้ครับ

แผงฝาหน้าก็จะขึ้นโครงด้วยพลาสติก แล้วก็จะมีส่วนด้านหน้าเป็นอลูมิเนียมครับ

ช่วงนี้ก็เป็นบริเวณด้านหลังของชุดสวิตช์เปิด-ปิด และไฟแสดงสถานะต่างๆครับ

พลิกกลับมาดูด้านหน้าก็ดูดีครับ


Exterior & Design (Continued)

สำหรับอุปกรณ์ที่ใช้ในการติดตั้งอุปกรณ์ก็มีมาให้ดังที่เห็นครับ

เมื่อถอดดูฝาอีกข้างหนึ่งก็เรียบๆ โดยมีเจาะรูพรุนไว้ส่วนนึงครับ

ฝั่งทางด้านนี้จะเห็นแผงเหล็กที่ใช้ยึดแผ่นเมนบอร์ดปิดทึบไปเกือบหมดเลยครับ

บริเวณนี้แหละครับที่เราสามารถติดตั้งพัดลมขนาด 8 cm. ตัวบางได้ครับ

บริเวณด้านล่างนี้ก็มีการเจาะช่องสี่เหลื่ยมผืนผ้าไว้สำหรับร้อยสายไฟออกมาเก็บฝั่งทางด้านนี้เพื่อความสวยงามอีกด้วยครับ

สำหรับทางด้านนี้จะสังเกตเห็นได้ว่า เราจะต้องขันสกรูยึดเพียงอย่างเดียวเท่านั้น ครับ

สำหรับสวิตช์เปิด-ปิดเครื่องจะยึดอยู่กับชุดพลาสติกดังรูปครับ

แอบดูข้างหลังก็จะเห็นเป็นอย่างนี้แหละครับ

ตัวนี้คือตัวแปลงให้ช่อง Bay 5.25" สามารถใส่ไดร์ฟขนาด 3.5" ได้ครับ


Exterior & Design (Continued)

ชุดเสียบสายต่อสำหรับควบคุมเปิด-ปิดเครื่องและไฟแสดงสถานะการทำงานของ HDD ครับ

เส้นนี้เป็น IEEE1394 ครับ

หัวต่อสายสัญญาณเสียงไปด้านหน้าเคสครับ

และที่ขาดไม่ได้ก็คือ USB ครับ

มาดูต่อกันที่กรงใส่ HDD ครับ

เราสามารถถอดออกมาทั้งชุดจากตัวเครื่องได้ดังรูปเลยครับ

เราสามารถใส่ HDD ได้ถึง 4 ลูกแล้วยังมีพัดลมเป่าระบายความร้อนให้กับ HDD ทุกตัวอีกด้วยครับ

พัดลมตัวใส ยามเปิดทำงานมีไฟสีฟ้าด้วยนะครับ

ทดลองใส่อุปกรณ์เข้าไปให้ดูว่าจะมีลักษณะเป็นอย่างไรกันบ้างครับ

ตัว PSU เราจะติดตั้งอย่างนี้ แล้วเราก็สามารถร้อยสายไฟไปออกทางด้านหลังได้อีกด้วยครับ


Exterior & Design (Continued)

สำหรับช่วงบนก็ไม่ต้องกลัวกับเรื่องความร้อนอีกต่อไปแล้วละครับ

ว่า แต่เขาเผื่อระยะระหว่างบอร์ดกับพัดลมไม่มากนักทำให้ลวดเกี่ยวพัดลมของ Ultra 120 X เกือบติดพัดลมตัวบนแหละครับ ห่างกันประมาณ 2-3 mm.เองครับ

ฝั่งทางด้านนี้ก็ห่างจากซิ้งค์ไม่มากนักครับ

ดูๆแล้วรูสึกว่าพัดลมจะห่างจากบอร์ดประมาณ 1 cm.เท่านั้นครับ

ส่วนระยะห่างระหว่างเมนบอร์ดกับพวกไดร์ฟต่างๆก็มีให้เหลือเฟือเลยละครับ

ถอดเสียบสายต่างๆได้อย่างสบายๆ เลยครับ

ด้านบนก็จะมีช่องสี่เหลี่ยมผืนผ้าเจาะไว้สำหรับร้อยสายเช่นกันครับ

มาดูกันว่ารูสี่เหลี่ยนข้างล่างกับข้างบนนั้นใช้ทำอะไรได้ครับ

ก็ใช้ร้อยสายเดินข้างหลังแผงนั่นเองครับ

ส่วนตรงนี้ถ้าเราใส่พัดลม มันก็จะเป่าบริเวณหลังซีพียูนั่นเองครับ


Exterior & Design (Continued)

สำหรับไฟแสดงสถานะการทำงานของเครื่องและ HDD จะเป็นสีฟ้าทั้งคู่ครับ

Final Words

หลัง จากที่ได้นั่งเล่นกับเคส Centurion 590 นี้แล้วรู้สึกถึงความกว้างขวางภายในเคส เป็นที่ถูกใจมากโดยเฉพาะผู้ที่ต้องการเคสขนาดไม่ใหญ่มากนัก แต่ต้องการให้ได้ พื้นที่ในการใช้สอยรวมถึงผู้ที่ชอบถอดเปลี่ยนอุปกรณ์บ่อยๆ แต่อาจจะมีปัญหาบ้างสำหรับผู้ที่ใช้ PSU รุ่นๆถูกๆที่มีสายไฟสั้น เนื่องจากการที่เขาออกแบบให้ PSU ติดตั้งอยู่ด้านล่างนี้ จะทำให้ระยะห่างของอุปกรณ์ต่างๆมีมากขึ้น ส่งผลให้สายไฟๆที่ในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ต้องมีความยาวมากยิ่งขึ้นนั่นเอง สำหรับเรื่องปัญหาของ ความร้อนที่เกิดขึ้นภายในเคส Centurion 590 ตัวนี้ แทบจะไม่ต้องนึกถึงอีกเลย เพราะด้วยการที่เขาได้ออกแบบให้สามารถติดตั้งพัดลมขนาดใหญ่ได้มากขนาดนี้ ทำให้เราสามารถเลือกหาพัดลมใส่ได้มากตามที่เราต้องการ แต่ที่สำคัญอย่างลืมดูเรื่องทิศทางลมด้วยแล้วกันนะครับ แล้วพบกันใหม่ครั้งหน้า สวัสดีครับ..

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คะแนนที่เราให้ หมายเหตุ
Features ลักษณะเด่น, น่าใช้งาน
9/10 เคส Mid Tower ที่มีพื้นที่ใช้สอยมากมาย อีกทั้งมีช่อง bay 5.25" มาให้ถึง 9 ช่อง..
Performance ประสิทธิภาพ
9/10 ประสิทธิภาพระดับสูง สามารถติดตั้งพัดลมได้เยอะมาก แต่ก็ดูทิศทางลมดีๆแล้วกัน
Value ความคุ้มค่ากับราคา
8/10 ราคายังค่อนข้างสูงไปนิด สำหรับเคส Mid Tower ที่เป็นเหล็กทั้งตัว
Overall โดยรวม
9/10 เหมาะสำหรับทำเคส Server หรือนักแต่งคอมเช่นคุณที่ไม่ควรพลาดครับ

Special Thanks...
CoolerMaster Centurion 590
supported by : Jedi
Tel. 0-2656-6170

Thailand Distributor :Jedi
Tel. 0-2656-6170



Packaging





Contents



A Closer Look - Outside















A Closer Look - Inside



































Finished Looks





The large fan openings allow you to look into the case and clearly see all the components. The downside of this is the fact, that all the noise from within the case can be heard and that any dust can enter the case, which it certainly will over time.





Coolermaster's website shows us that modders and overclockers can embrace the Centurion 590's ability to let its hair down and be wild when it needs to be.

Although it passes the 10-foot test with flying colors, a closer look reveals some of the Centurion’s build quality issues. One of the panels didn’t fit flush with the back of the case and I was not impressed with some of the spot welds and rivets used in its construction. While this is nothing more than a nitpick, there some overspray inside the case and on the backside of the side panels.

With all the praise comes some criticisim. Poor panel fitment and ugly overspray are not expected from a pro like Coolermaster.






REALTIME PRICING

First Looks

Having run my hands across a few Centurions, my biggest problem is the paint, which tends to scratch off as dust screeches past at gravity speed. So, a fingerprint-resistant light powder coat is the first of many things done right. It's not bullet-proof, but as good as any Antec paint.


There are nine drive bays, four all used up from the start, but the rest serve at your pleasure.


The front I/O panel covers the bases. It's good for two USB connections, an IEEE 1394 connection, and a headset. For lights there's power and hard drive activity, and a chrome-ringed power button that's nice to mash. No reset button. The audio headers have AC '97 and HD audio covered, with separately-broken-out pins for those unfortunates.


The panel's brushed aluminum, thick, and smooth. The same brushed aluminum as the corners of the vented front bezel, which has black foam plastic dust filters. The filters are held into place inside the drive bay covers by metal tabs, so you'll have to pry to get them out (if you wanted to).

Each of the bay covers attaches to the front bezel and not the case, which makes them a lot easier to swap around. The front bezel is also easy to pop off; it's held in place with plastic tabs. A latch would have been nicer here, since the plastic tabs can lose tension over time.

Feet aren't special, but the back panel's got pre-cut tubing holes for the water-cooler, fitted with safe rubber grommets.

And then there are the fan mounts. While they're made with 140mm fans in mind, there are holes drilled for 120, 92, and 80mm fans. The spacing is such that most 240mm radiators won't fit without some modding. There's also a vent behind the motherboard, which can be fitted with a fan, if you find one thin enough. All fan mounts are punched through the panels, with a Cooler Master hex pattern.






CoolerMaster Centurion 590 Case Review
CoolerMaster Centurion 590 Case Review


CoolerMaster Centurion 590 Case Review Front of case

Front of case

CoolerMaster Centurion 590 Case Review front drive bays

front drive bays

CoolerMaster Centurion 590 Case Review front panel I/O

front panel I/O

CoolerMaster Centurion 590 Case Review Rear of case


CoolerMaster Centurion 590 Case Review Rear view 2

Rear view 2

CoolerMaster Centurion 590 Case Review right sideview

right sideview

CoolerMaster Centurion 590 Case Review Left side view

Left side view

CoolerMaster Centurion 590 Case Review Drive bay open



CoolerMaster Centurion 590 Case Review Side view

Side view

CoolerMaster Centurion 590 Case Review Bottom top view

Bottom top view

CoolerMaster Centurion 590 Case Review Rear view

Rear view

CoolerMaster Centurion 590 Case Review Top view

CoolerMaster Centurion 590 Case Review FDD +one 5.25”

CoolerMaster Centurion 590 Case Review Front 120mm fan

CoolerMaster Centurion 590 Case Review Side open case


CoolerMaster Centurion 590 Case Review Computer components
CoolerMaster Centurion 590 Case Review HDD Cage


CoolerMaster Centurion 590 Case Review System installed


CoolerMaster Centurion 590 Case Review Complete system


CoolerMaster Centurion 590 Case Review Video card installed

CoolerMaster Centurion 590 Case Review


Click for full-size image


Click for full-size image


Click for full-size image


Click for full-size image


Click for full-size image

Click for full-size image


Click for full-size image


Click for full-size image


Click for full-size image


Click for full-size image


Click for full-size image


Click for full-size image


Click for full-size image



Click for full-size image

Click for full-size image


Click for full-size image


Click for full-size image


Click for full-size image

Re: V8 + Corei7 + Centurion 590

I think it is no problem , can see the photo below in a CM690 , the CM690 have the same frame as the CM590

Image

Re: Cooler Master 590 Chassis Intrusion Detection?

Postby philthygeezer on Wed Aug 13, 2008 12:48 am

Image

The jumper worked - no fault of the case! Here is a picture of my build. I love the room in the case and made just a couple suggestions for cable management in the suggestions sections. This is the best case in its price range: I like it better than the 690.


Click for full-size image


Click for full-size image


Click for full-size image


Click for full-size image


Click for full-size image